การตรวจวิเคราะห์ HbA1C
โดยเครื่อง BIO-RAD D-10
1. วัตถุประสงค์ของการทดสอบ
The Bio-Rad D-10™
Hemoglobin A1c ใช้ตรวจวัดระดับฮีโมโกลบินเอวันซีในเลือดของมนุษย์โดยอาศัยหลักการ
ion-exchange high-performance liquid chromatography (HPLC)
โรคเบาหวาน เป็นภาวะที่มีน้ำตาลในเลือดสูง
ที่เกิดจาก การเสื่อมประสิทธิภาพ ของร่างกายในการ ใช้ กลูโคสในเลือดสำหรับให้พลังงาน
ใน เบาหวานประเภทที่ 1 , ตับอ่อนไม่หลั่งฮอร์โมนอินซูลิน
ดังนั้น น้ำตาลในเลือดจึงไม่สามารถเข้าสู่เซลล์ที่จะใช้เป็นพลังงานได้ ส่วนโรคเบาหวานประเภทที่ 2
ทั้ง ตับอ่อนไม่สร้างฮอร์โมนอินซูลินที่เพียงพอ หรือร่างกาย
ไม่สามารถที่ใช้อินซูลินได้ ซึ่งผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อมจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
เป็นสาเหตุสำคัญของ การเจ็บป่วย และการตาย ทั้งโรคเบาหวานประเภทที่ 1 และ โรคเบาหวานประเภทที่ 2 ผลกระทบ เหล่านี้อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือด
( โรคหลอดเลือดหัวใจ , โรค หลอดเลือด และ โรคหลอดเลือดสมอง )
และ microvascular ภาวะแทรกซ้อน
( โรคไต โรคเบาหวานโรค และ จอประสาทตา ) มีคนเป็นโรคเบาหวาน ประมาณ 7% ของประชากรทั่วโลก
ดังนั้นการรักษาโรคเบาหวาน
จำเป็นต้องรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ใกล้เคียงระดับปกติ ช่วยลดความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือด การวัดระดับน้ำตาลในเลือด ขณะอดอาหาร
เพียงครั้งเดียว ที่บ่งบอกถึง สภาพที่ ผ่านมาของผู้ป่วยได้ทันที ( ชั่วโมง)
แต่ไม่ใช่ตัวแทนค่าน้ำตาลที่แท้จริง การวัดระดับ
ฮีโมโกลบินเอวันซี ( HbA1c ) ทุกสอง
ถึงสามเดือนได้รับการ ยอมรับว่าเป็น ตัวชี้วัดของ การควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด รวมทั้งการดูแลและ รักษาผู้ป่วย ที่เป็นโรคเบาหวาน
2.
หลักการการวิเคราะห์
The D-10 Hemoglobin A1c Program ใช้หลักการ of
ion-exchange high-performance liquid chromatography (HPLC) โดยตัวอย่างจะถูกเจืองจางโดยอัตโนมัติและฉีดเข้าไปใน
analytical cartridgeโดยส่วยผสมของบัฟเฟอร์จะมีความแรงของประจุเพื่อใช้ในการแยกฮีโมโกลบินแต่ละตัวออกมา
จากนั้นจะทำการวัดการดูดกลืนแสงของฮีโมโกลบินแต่ละชนิดโดยใช้ photometer เป็นตัวตรวจวัดที่ความยาวคลื่น 415 นาโนเมตร
ในการคำนวณความเข้มข้นของฮีโมโกลบินออกมาเป็นร้อยละ จะคำนวณจากพื้นที่ใต้กราฟของฮีโมโกลบินแต่ละชนิด
โดยมีสารที่ทราบความเข้มข้นของ HbA1C อยู่ 2 ระดับในการปรับค่า (Calibrator Level 1 ,Level 2 )
3.
คุณลักษณะของวิธีการทดสอบ
3.1
Precision
The
precision of the D-10 Hemoglobin A1c Program was evaluated in a study based on
the NCCLS EP5-T2 guideline "Evaluation of Precision Performance of
Clinical Chemistry Devices" as adapted by the NGSP for use in the
certification of glycohemoglobin methods. In this study, 40 runs were performed
on one D-10 System over 20 working days. In each run, aliquots of normal and
diabetic specimens were analyzed in duplicate. The results of the precision
study are summarized in Table 1
|
Normal
Patient
|
Diabetic Patient
|
Mean
(% HbA1c)
Within
Run (% CV)
Between
Day (% CV)
Between
Run ( % CV)
Total
Precision (% CV)
|
5.7
0.78
0.68
0.52
1.16
|
9.4
0.46
0.99
0.53
1.22
|
Table
1. Results of Precision Study.
Linearity/Recovery
4.
ชนิดของตัวอย่าง
Whole
Blood EDTA
5.
ภาชนะบรรจุและสารที่ใช้เก็บตัวอย่าง
หลอดเก็บตัวอย่างชนิดมีสารกันเลือดแข็ง EDTA โดยเก็บที่
อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส ได้นาน 7 วัน
ถ้าเก็บที่อุณหภูมิห้อง (15-30 องศาเซลเซียส) จะอยู่ได้นาน 3 วัน
6.
เครื่องมือและน้ำยาที่ใช้
6.1
เครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ Bio-Rad D-10
6.2 น้ำยา
6.2.1 Elution Buffer 1. Two bottles
containing 2000 mL of a Bis-Tris/Phosphate buffer,
pH 6.0. Contains <0.05% sodium azide
as a preservative.
6.2.2 Elution Buffer 2.
One bottle containing 1000 mL of a Bis-Tris/Phosphate buffer,
pH 6.7. Contains <0.05% sodium azide
as a preservative.
6.2.3 Wash/Diluent
Solution.
One bottle containing 1600 mL of deionized water with
<0.05% sodium azide as a
preservative.
6.2.4 Analytical Cartridge. One
cation exchange cartridge, 4.0 mm ID x 30 mm.
6.2.5 Calibrator/Diluent Set.
One set consisting of three vials of Calibrator Level 1, three
vials of Calibrator Level 2, and
one bottle of Calibrator Diluent. The calibrator vials
contain lyophilized human red
blood cell hemolysate with gentamicin, tobramycin,
and EDTA as preservatives. Reconstituted
volume is 7 mL per vial. Calibrator Diluent contains 100 mL of deionized water with <0.05%
sodium azide as a preservative.
6.2.6 Whole Blood Primer. Four
vials of lyophilized human red blood cell hemolysate with
gentamicin, tobramycin, and EDTA as
preservatives. Reconstituted volume is 1.0 mL per vial.
6.3
Sample Vials. 100 polypropylene vials with pierceable caps, 1.5 mL.
6.4 Pipettes ที่ปรับขนาด
5 uL, 0.5 mL, 1 mL, 7 mL
6.5 น้ำกลั่น
6.6
ถุงมือยางชนิดใช้แล้วทิ้ง
7.
วิธีการสอบเทียบ
7.1
Whole Blood Primer
เตรียมใหม่เมื่อมีการใช้คาทริทใหม่
1. The Whole Blood Primer ควรจะคงตัวจนกระทั่งวันหมดอายุเมื่อยังไม่ได้เปิดใช้ที่อุณหภูมิ
2–8 °C.
2. ใช้น้ำกลั่นละลาย 1
mL ตามที่ระบุข้างฉลาก
3. ตั้งทิ้งไว้นาน
10–15 นาที ที่อุณหภูมิ 15–30 °C.
4. เขย่าส่วนผสมให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน
5. เขียนวันที่เตรียมบนฉลาก.
Whole Blood Primer ที่ผสมแล้วจะคงตัวเป็นเวลา 1 วัน ที่ อุณหภูมิ 2–8 °C.
6. The Whole Blood Primer ต้องเปลี่ยนเมื่อ
เปลี่ยนน้ำยา lot ใหม่ (ให้มาพร้อมชุดน้ำยา)
7.2
Hemoglobin A1c Calibrators
ใช้ Hb A1C Calibrator ที่ละลายด้วย
Calibrator Diluent 7 mL.
หลังจากผสมให้เข้ากันและตั้งทิ้งไว้ 5-10 นาที โดยมี 2
ระดับ คือ HbA1c
Calibrator, Level 1 และ HbA1c
Calibrator, Level 2
เวลาที่ต้องทำการสอบเทียบ
1.
เมื่อมีการเปลี่ยนน้ำยา Lot ใหม่
2.
หลังจากเครื่องถูกซ่อม หรือมีการบำรุงรักษา
3.
ผลของ
Control ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
8.
ขั้นตอนการดำเนินการ
ปฏิบัติตาม คู่มือการใช้งานเครื่อง BIO-RAD D-10 Hemoglobin Testing
System
9.
วิธีควบคุมคุณภาพ
ใช้ BioRAD
Lyphochek® Diabetes Control 2 Level ได้แก่ Low และ High
10.
สิ่งรบกวน
Interfering
Substances
•
Icterus, as indicated by bilirubin concentrations up to 20 mg/dL, does not
interfere with the assay.
•
Lipemia, as indicated by triglyceride concentrations up to 5680 mg/dL, does not
interfere with the assay.
•
Hemoglobin F concentrations up to 10% do not interfere with the assay.
•
Labile A1c (LA1c/CHb-1) concentrations up to 4% do not interfere with the
assay.
•
Carbamylated hemoglobin (LA1c/CHb-2) concentrations up to 3.5% do not interfere
with the assay.
11.
หลักการของวิธีการคำนวณผล
ใช้โปรแกรมการตรวจวิเคราะห์ที่ที่อยู่ในเครื่องBIO-RAD D-10 คำนวณหาค่าพื้นที่ %HbA1C
12.
เกณฑ์อ้างอิงในคน
4.0-6.0
%
13.
ขอบเขตของผู้ป่วยที่รายงาน
3.8-18.5
% ตาม NGSP
14.
ค่าวิกฤต
ไม่มี
15.
การแปลผล
ไม่มี
16.
ข้อควรระวังด้านความปลอดภัย
ปฏิบัติงานตามวิธีการปฏิบัติงานการป้องกันอันตรายในห้องปฏิบัติการ
(WI-MSL-00-002)
16.1 โดยสวมเสื้อกาวน์
และถุงมือทุกครั้งที่ปฏิบัติงาน
16.2 ให้ถือว่าตัวอย่างตรวจเป็นตัวอย่างติดเชื้อ
จึงควรปฏิบัติด้วยความระมัดระวัง
17.
แหล่งที่มาของความแปรปรวนที่สำคัญ
1.
สิ่งส่งตรวจ
2.
กระแสไฟฟ้า
3.
สารมาตรฐาน
4.
ระบบน้ำ
18.
เอกสารอ้างอิง
18.1 D-10™ Hemoglobin A1c Program Instruction Manual
18.2 คู่มือการใช้งานเครื่อง
BIO-RAD D-10 Hemoglobin Testing System
19.
การบันทึกผลการวิเคราะห์
บันทึกใน
Work
Sheet of Hb A1C
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น